น้ำหนักเหล็กกล่อง (Steel Tube Weight) ของเหล็กแป๊บ เป็นเหล็กในกลุ่มเหล็กโครงสร้าง มีคุณสมบัติพิเศษคือ สามารถรับแรงต้านขณะใช้งานได้ดี นิยมใช้ทำโครงหลังคาเหล็ก หรือคานเหล็ก เป็นต้น วันนี้เราจะมาดูกันว่านำ้หนักเหล็กกล่องวาเป็นอย่างไรไปดูกันเลย
น้ำหนักเหล็กกล่อง (Steel Tube Weight) น้ำหนัก มอก. JIS สำหรับเหล็กกล่องแบน
- (มอก) ขนาด 2×1 นิ้ว หนา 2.30 มม. น้ำหนัก 14.28 กก./เส้น
- (มอก) ขนาด 2×1 นิ้ว หนา 3.20 มม. น้ำหนัก 19.06 กก./เส้น
- (มอก) ขนาด 3×1 1/2 นิ้ว หนา 2.30 มม. น้ำหนัก 22.15 กก./เส้น
- (มอก) ขนาด 3×1 1/2 นิ้ว หนา 3.20 มม. น้ำหนัก 29.88 กก./เส้น
- (JIS) ขนาด 4×2 นิ้ว หนา 2.30 มม. น้ำหนัก 28.90 กก./เส้น
- (มอก) ขนาด 4×2 นิ้ว หนา 3.20 มม. น้ำหนัก 40.48 กก./เส้น
- (JIS) ขนาด 5×3 นิ้ว หนา 2.30 มม. น้ำหนัก 39.56 กก./เส้น
- (JIS) ขนาด 5×3 นิ้ว หนา 3.20 มม. น้ำหนัก 53.24 กก./เส้น
- (JIS) ขนาด 6×2 นิ้ว หนา 2.30 มม. น้ำหนัก 38.38 กก./เส้น
- (JIS) ขนาด 6×2 นิ้ว หนา 3.20 มม. น้ำหนัก 53.04 กก./เส้น
น้ำหนักเหล็กกล่อง (Steel Tube Weight) น้ำหนักทั่วไป สำหรับเหล็กกล่องแบน
- ขนาด 2 x 1 นิ้ว หนา 0.90 มม. น้ำหนัก 5.80 กก./เส้น
- ขนาด 2 x 1 นิ้ว หนา 1.00 มม. น้ำหนัก 6.20 กก./เส้น
- ขนาด 3 x 1 1/2 นิ้ว หนา 1.00 มม. น้ำหนัก 9.60 กก./เส้น
- ขนาด 1 1/2 x 3/4 นิ้ว หนา 1.20 มม. น้ำหนัก 6.00 กก./เส้น
- ขนาด 2 x 1 นิ้ว หนา 1.20 มม. น้ำหนัก 7.40 กก./เส้น
- ขนาด 3 x 1 1/2 นิ้ว หนา 1.20 มม. น้ำหนัก 11.00 กก./เส้น
- ขนาด 4 x 2 นิ้ว หนา 1.20 มม. น้ำหนัก 15.00 กก./เส้น
- ขนาด 2 x 1 นิ้ว หนา 1.40 มม. น้ำหนัก 8.50 กก./เส้น
- ขนาด 3 x 1 1/2 นิ้ว หนา 1.40 มม. น้ำหนัก 12.95 กก./เส้น
- ขนาด 4 x 2 นิ้ว หนา 1.40 มม. น้ำหนัก 17.80 กก./เส้น
- ขนาด 2 x 1 นิ้ว หนา 1.60 มม. น้ำหนัก 10.00 กก./เส้น
- ขนาด 3 x 1 1/2 นิ้ว . หนา 1.60 มม. น้ำหนัก 14.90 กก./เส้น
- ขนาด 4 x 2 นิ้ว หนา 1.60 มม. น้ำหนัก 20.00 กก./เส้น
- ขนาด 5 X 2 นิ้ว หนา 1.70 มม. น้ำหนัก 27.00 กก./เส้น
- ขนาด 5 x 3 นิ้ว หนา 1.70 มม. น้ำหนัก 28.60 กก./เส้น
- ขนาด 6 x 2 นิ้ว หนา 1.70 มม. น้ำหนัก 30.80 กก./เส้น
- ขนาด 2 x 1 นิ้ว หนา 2.50 มม. น้ำหนัก 15.00 กก./เส้น
- ขนาด 3 x 1 1/2 นิ้ว หนา 2.50 มม. น้ำหนัก 24.20 กก./เส้น
- ขนาด 4 x 2 นิ้ว หนา 2.50 มม. น้ำหนัก 32.20 กก./เส้น
- ขนาด 5 x 3 นิ้ว หนา 2.50 มม. น้ำหนัก 43.00 กก./เส้น
- ขนาด 6 x 2 นิ้ว หนา 2.50 มม. น้ำหนัก 43.00 กก./เส้น
- ขนาด 5 x 2 นิ้ว หนา 2.70 มม. น้ำหนัก 42.00 กก./เส้น
การเลือกซื้อวัสดุประเภท ท่อเหลี่ยม แป๊ปเหลี่ยม เหล็กกล่อง ที่ดีควรมีคุณสมบัติดังนี้
- เหล็กคุณภาพ SS400
- เหล็กที่ผลิตต้องได้เต็มนิ้ว เต็ม มม. ที่กำหนด
- ดูที่น้ำหนักจริง ไม่ใช่เพียงแต่ดูที่ความหนา (เพราะความหนาโดยมากตรวจวัดด้วยตาไม่เห็น)
- เหล็กล่องต้องได้ฉาก
- ความยาวต้อง 6 ม. เต็ม
- ควรมีใบ มอก. ประกอบการขาย เช่น เหล็กคุณภาพ แปซิฟิกไพพ์
คำแนะนำเพิ่มเติมสำหรับผู้ที่สนใจ
เหล็กกล่องสี่เหลี่ยม และเหล็กกล่องสี่เหลี่ยมแบน ทำให้งานก่อสร้างเสร็จได้รวดเร็วกว่างานคอนกรีต และทำให้ได้โครงสร้างที่มีช่วงกว้างกว่า และมีน้ำหนักเบากว่าเหมาะกับงานก่อสร้างขนาดกลางและขนาดเล็ก เช่น ที่พักอาศัย และอาคารพานิชย์ สำนักงาน ออฟฟิศ โครงหลังคาเหล็ก คานเหล็ก โครงสร้างโรงจอดรถ เป็นต้น ทั้งนี้สามารถนำไปใช้งานได้หลากหลายตามความต้องการ
การทำจุดต่อของท่อเหล็ก สามารถเชื่อมต่อได้หลายรูปแบบขึ้นอยู่กับความถนัดและความเหมาะสมกับงาน การเกิดสนิมผิวในท่อ ป้องกันได้เพียงนำท่อเหล็กมาปิดหัวปิดท้าย ก็สามารถป้องกันการเกิดสนิมในท่อได้สนิมเกิดเมื่อมีปริมาณของความชื้นของน้ำและอากาศที่มากพอจนสามารถทำให้เกิดปฏิกริยาเคมีบนผิวของท่อเหล็ก ท่อที่ผลิตได้มาตรฐาน แต่ละประเภทสามารถใช้แทนกันได้ แต่ต้องตรวจสอบสเปคของท่ามตามประเภทการใช้งานก่อน
ขอบคุณแหล่งที่มา
https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%80%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B9%87%E0%B8%81